Glycyrrhizae Radix et Rhizoma -Liquorice,Licorice

ชะเอมเทศ (รากและเหง้า)
甘草
(Gān Cǎo - กานฉ่าว)

ชื่อเครื่องยา

ชื่อเครื่องยา (ไทย)

:

ชะเอมเทศ (รากและเหง้า)

ชื่อเครื่องยา (จีน)

:

กานฉ่าว(甘草 Gān Cǎo)

ชื่อเครื่องยา (ละติน)

:

Glycyrrhizae Radix et Rhizoma

ชื่อพืช (ไทย)

:

ชะเอมเทศ,ชะเอมจีน

ชื่อพืช (จีน)

:

กานฉ่าว(甘草 Gān Cǎo)
จ้างกว่อกานฉ่าว(胀果甘草 Zhàng Guǒ Gān Cǎo)
กวางกว่อกานฉ่าว(光果甘草 Guāng GuǒGān Cǎo)

ชื่อพืช (อังกฤษ)

:

Liquorice,Licorice

ชื่อเครื่องยา

ชื่อเครื่องยา (ไทย) :

เจี๋ยวกู่หลาน,ปัญจขันธ์

ชื่อเครื่องยา (จีน) :

เจี๋ยวกู่หลาน(绞股蓝 Jiǎo Gǔ Lán)

ชื่อเครื่องยา (ละติน) :

Gynostemmatis Pentaphylli Herba

ชื่อพืช (ไทย) :

เจี๋ยวกู่หลาน,ปัญจขันธ์

ชื่อพืช (จีน) :

เจี๋ยวกู่หลาน(绞股蓝 Jiǎo Gǔ Lán)

ชื่อพืช (อังกฤษ) :

Jiaogulan

ลักษณะทางพฤษศาสตร์

ชื่อพฤษศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์

:

GLycyrrhiza uralensis Fisch.,Glycyrrhiza inflata Bat.,Glycyrrhiza glabra L.

วงศ์

:

LEGUMINOSAE

ลักษณะทางพฤษศาสตร์

:

ไม้ล้มลุก สูงประมาณ 1-2 ม. ลำต้นใต้ดินเป็นแบบเหง้าแผ่กระจาย ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ใบย่อยรูปไข่ กว้าง 1.5-3 ซม. ยาว 2-5.5 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบกลมมน ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ออกตามซอกใบ สีม่วง ผลเป็นฝักแบน เมล็ดรูปไต สีดำเป็นมัน

เอกสารอ้างอิง
(1) สำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สืบค้นจาก https://medplant.mahidol.ac.th/pharm/botanic.asp?bc=0200&kw=%AA%D0%E0%CD%C1%E0%B7%C8*

ภาพลักษณะทางพฤษศาสตร์

:

ลักษณะทางพฤษศาสตร์

ชื่อพฤษศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ :

Gynostemma pentaphyllum (Thunb.) Makino

วงศ์ :

CUCURBITACEAE

ลักษณะทางพฤษศาสตร์ :

ไม้เถาล้มลุก ลำต้นเล็กเรียวยาว เลี้อยไปตามพื้นหรือเลี้อยพันกับพืชอื่น ๆ ยาวได้ถึง 30 ม. ใบประกอบ เรียงสลับ มีใบย่อย 3 – 5 ใบ รูปไข่หรือรูปวงรี กว้าง 2-3 ซม. ยาว 4-8 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบกลม ขอบใบจักฟันเลื่อย ช่อดอกออกตามซอกใบหรือปลายกิ่ง มีขนาดเล็ก สีเหลืองปนเขียว ผลค่อนข้างกลม ผลอ่อนสีเขียว เมื่อสุกสีเขียวออกดำ เมล็ดรูปสามเหลี่ยม ค่อนข้างแบน ผิวเมล็ดขรุขระ

เอกสารอ้างอิง

(1) ฐานข้อมูลพรรณไม้ องค์การสวนพฤกษศาสตร์ สืบค้นจาก http://www.qsbg.org/Database/Botanic_Book%20full%20option/search_detail.asp?botanic_id=2411

(2) บทความเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชนเรื่อง เครื่องดื่มเจียวกู่หลาน ดอกคำฝอย ใบหญ้าหวาน คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สืบค้นจาก https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/เครื่องดื่มเจียวกู่หลานดอกคำฝอยใบหญ้าหวาน/

ภาพลักษณะทางพฤษศาสตร์ :

ลักษณะทางภายนอกของเครื่องยา

ลักษณะภายนอก

:

คำอธิบายลักษณะภายนอก

1. ลักษณะภายนอกที่1

:

2. ลักษณะภายนอกที่2

:

ภาพลักษณะภายนอก

:

ลักษณะทางภายนอกของเครื่องยา

ลักษณะภายนอก

1. ลักษณะภายนอกที่1

2. ลักษณะภายนอกที่2

ภาพลักษณะภายนอก :

สรรพคุณ

สรรพคุณ (จีน)

  • แหล่งเพาะปลูกหลักอยู่ที่เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน มณฑลกันซู่ ซินเจียง และพื้นที่ฝั่งตะวันตกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีน
  • นำวัตถุดิบยากำจัดสิ่งปนเปื้อน ล้างสะอาด แช่น้ำให้ฉ่ำทั่ว หั่นเป็นแผ่นหนา ตากแห้ง
  • มีรสหวาน ฤทธิ์กลาง บำรุงชี่ เข้าสู่เส้นลมปราณ หัวใจ ปอด ม้าม และกระเพาะอาหาร สรรพคุณบำรุงชี่ เสริมความแข็งแรงของม้าม; ลดพิษร้อน; ขับเสมหะแก้ไอ; ลดปวด; ปรับสมดุลของตำรับยา และลดพิษของสมุนไพรจีนชนิดอื่น ใช้รักษากลุ่มผู้ป่วยชี่พร่อง โดยเฉพาะม้ามและกระเพาะอาหาร มีอาการอ่อนเพลีย ใจสั่น ไอมีเสมหะ หรืออาการปวดเกร็งบริเวณท้องและแขนขา เป็นต้น
  • ไม่ควรใช้ร่วมกับไหจ่าว จิงต้าจี หงต้าจี กานสุย และหยวนฮวา

สรรพคุณ

รูปภาพองค์ประกอบทางเคมี

ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาและพิษวิทยา

ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา

:

ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา

พิษวิทยา

:

พิษวิทยา

ทางธุรกิจ

มูลค่าทางเศรษฐกิจ

:

มูลค่าทางเศรษฐกิจ

ความต้องการของตลาดโลกและการค้าระหว่างประเทศ

:

ความต้องการของตลาดโลกและการค้าระหว่างประเทศ

แนวโน้มความต้องการและโอกาสทางเศรษฐกิจ

:

แนวโน้มความต้องการและโอกาสทางเศรษฐกิจ

Image by jcomp on Freepik

ทางธุรกิจ

มูลค่าทางเศรษฐกิจ :

มูลค่าทางเศรษฐกิจ

ความต้องการของตลาดโลกและการค้าระหว่างประเทศ :

ความต้องการของตลาดโลกและการค้าระหว่างประเทศ

แนวโน้มความต้องการและโอกาสทางเศรษฐกิจ :

แนวโน้มความต้องการและโอกาสทางเศรษฐกิจ

Views: 168
Scroll to Top