Nelumbinis Semen - Lotus,Sacred lotus

บัวหลวง (เม็ดบัว)
莲子
(Lián Zǐ - เหลียนจื่อ)

ชื่อเครื่องยา

ชื่อเครื่องยา (ไทย)

:

บัวหลวง (เม็ดบัว)

ชื่อเครื่องยา (จีน)

:

เหลียนจื่อ(莲子 Lián Zǐ)

ชื่อเครื่องยา (ละติน)

:

Nelumbinis Semen

ชื่อพืช (ไทย)

:

บัวหลวง

ชื่อพืช (จีน)

:

เหลียน(莲 Lián)

ชื่อพืช (อังกฤษ)

:

Lotus,Sacred lotus

ชื่อเครื่องยา

ชื่อเครื่องยา (ไทย) :

เจี๋ยวกู่หลาน,ปัญจขันธ์

ชื่อเครื่องยา (จีน) :

เจี๋ยวกู่หลาน(绞股蓝 Jiǎo Gǔ Lán)

ชื่อเครื่องยา (ละติน) :

Gynostemmatis Pentaphylli Herba

ชื่อพืช (ไทย) :

เจี๋ยวกู่หลาน,ปัญจขันธ์

ชื่อพืช (จีน) :

เจี๋ยวกู่หลาน(绞股蓝 Jiǎo Gǔ Lán)

ชื่อพืช (อังกฤษ) :

Jiaogulan

ลักษณะทางพฤษศาสตร์

ชื่อพฤษศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์

:

Nelumbo nucifera Gaertn.

วงศ์

:

NELUMBONACEAE

ลักษณะทางพฤษศาสตร์

:

ไม้ล้มลุก มีเหง้าแยกแขนง (ไหลบัว) อยู่ใต้ดิน ใบเดี่ยว รูปใบเกือบกลม แผ่นใบจะชูอยู่เหนือน้ำ เส้นผ่านศูนย์กลาง 25-90 ซม. ขอบเรียบและเป็นคลื่น ผิวใบด้านบนมีไขเคลือบ ก้านใบกลม ด้านในมีเส้นใยสีขาว ด้านนอกมีตุ่มกระจายหรือเกลี้ยง ก้านใบจะติดตรงกลางแผ่นใบ ดอกเดี่ยว ออกตามซอกใบ สีขาวหรือชมพู มีกลิ่นหอม ก้านดอกยาวกว่าก้านใบ ชูดอกเหนือน้ำ กลีบรวมจำนวนมาก วงนอกลดรูป รูปรีหรือรูปไข่กลับ สีเขียวอ่อน เกสรเพศผู้จำนวนมากติดที่โคนฐานดอก รังไข่จำนวนมากฝังในฐานดอก ผลกลุ่ม ผลย่อยคล้ายผลแบบเปลือกแข็ง แห้งไม่แตก รูปไข่แกมรูปขอบขนาน ผลอ่อนมีสีเหลือง เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีเทาอมเขียว

เอกสารอ้างอิง

(1) โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สืบค้นจาก http://www.rspg.or.th/plants_data/herbs/herbs_03_5.htm

(2) สารานุกรมพืชในประเทศไทย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช สืบค้นจาก https://www.dnp.go.th/botany/detaildict.html?wordsname=%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87

ภาพลักษณะทางพฤษศาสตร์

:

ลักษณะทางพฤษศาสตร์

ชื่อพฤษศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ :

Gynostemma pentaphyllum (Thunb.) Makino

วงศ์ :

CUCURBITACEAE

ลักษณะทางพฤษศาสตร์ :

ไม้เถาล้มลุก ลำต้นเล็กเรียวยาว เลี้อยไปตามพื้นหรือเลี้อยพันกับพืชอื่น ๆ ยาวได้ถึง 30 ม. ใบประกอบ เรียงสลับ มีใบย่อย 3 – 5 ใบ รูปไข่หรือรูปวงรี กว้าง 2-3 ซม. ยาว 4-8 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบกลม ขอบใบจักฟันเลื่อย ช่อดอกออกตามซอกใบหรือปลายกิ่ง มีขนาดเล็ก สีเหลืองปนเขียว ผลค่อนข้างกลม ผลอ่อนสีเขียว เมื่อสุกสีเขียวออกดำ เมล็ดรูปสามเหลี่ยม ค่อนข้างแบน ผิวเมล็ดขรุขระ

เอกสารอ้างอิง

(1) ฐานข้อมูลพรรณไม้ องค์การสวนพฤกษศาสตร์ สืบค้นจาก http://www.qsbg.org/Database/Botanic_Book%20full%20option/search_detail.asp?botanic_id=2411

(2) บทความเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชนเรื่อง เครื่องดื่มเจียวกู่หลาน ดอกคำฝอย ใบหญ้าหวาน คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สืบค้นจาก https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/เครื่องดื่มเจียวกู่หลานดอกคำฝอยใบหญ้าหวาน/

ภาพลักษณะทางพฤษศาสตร์ :

ลักษณะทางภายนอกของเครื่องยา

ลักษณะภายนอก

:

คำอธิบายลักษณะภายนอก

1. ลักษณะภายนอกที่1

:

2. ลักษณะภายนอกที่2

:

ภาพลักษณะภายนอก

:

ลักษณะทางภายนอกของเครื่องยา

ลักษณะภายนอก

1. ลักษณะภายนอกที่1

2. ลักษณะภายนอกที่2

ภาพลักษณะภายนอก :

สรรพคุณ

สรรพคุณ

รูปภาพองค์ประกอบทางเคมี

ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาและพิษวิทยา

ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา

:

ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา

พิษวิทยา

:

พิษวิทยา

ทางธุรกิจ

มูลค่าทางเศรษฐกิจ

:

มูลค่าทางเศรษฐกิจ

ความต้องการของตลาดโลกและการค้าระหว่างประเทศ

:

ความต้องการของตลาดโลกและการค้าระหว่างประเทศ

แนวโน้มความต้องการและโอกาสทางเศรษฐกิจ

:

แนวโน้มความต้องการและโอกาสทางเศรษฐกิจ

ทางธุรกิจ

มูลค่าทางเศรษฐกิจ :

มูลค่าทางเศรษฐกิจ

ความต้องการของตลาดโลกและการค้าระหว่างประเทศ :

ความต้องการของตลาดโลกและการค้าระหว่างประเทศ

แนวโน้มความต้องการและโอกาสทางเศรษฐกิจ :

แนวโน้มความต้องการและโอกาสทางเศรษฐกิจ

Views: 76
Scroll to Top