Xanthii Fructus - Rough cocklebur

กระชับ(ผล)
苍耳子
(Cāng ěr zǐ - ชางเอ๋อร์จื่อ)

Xanthii Fructus - Rough cocklebur

กระชับ(ผล)
苍耳子
(Cāng ěr zǐ - ชางเอ๋อร์จื่อ)

ชื่อเครื่องยา

ชื่อเครื่องยา (ไทย)

:

กระชับ (ผล)

ชื่อเครื่องยา (จีน)

:

ชางเอ๋อร์จื่อ(苍耳子 Cāng ěr zǐ)

ชื่อเครื่องยา (ละติน)

:

Xanthii Fructus

ชื่อพืช (ไทย)

:

กระชับ

ชื่อพืช (จีน)

:

ชางเอ่อร์(苍耳 Cāng ěr)

ชื่อพืช (อังกฤษ)

:

Rough cocklebur

ชื่อเครื่องยา

ชื่อเครื่องยา (ไทย) :

ธูปฤาษี (อับเรณู)

ชื่อเครื่องยา (จีน) :

ผู่หวง(蒲黄 Pú Huáng)

ชื่อเครื่องยา (ละติน) :

Typhae pollen

ชื่อพืช (ไทย) :

ธูปฤาษี

ชื่อพืช (จีน) :

สุ่ยจู๋เซียงผู่(水烛香蒲 Shuǐ Zhú Xiāng Pú),ตงฟางเซียงผู่(东方香蒲 Dōng FāngXiāng Pú)

ชื่อพืช (อังกฤษ) :

Narrowleaf cattail,Bulrush

ลักษณะทางพฤษศาสตร์

ชื่อพฤษศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ :

Xanthium strumariumsubsp. sibiricum (Patrin ex Widder) Greuter (ชื่อพ้องพฤกษศาสตร์ Xanthium sibiricum Patr.)

วงศ์ :

ASTERACEAE

ลักษณะทางพฤษศาสตร์ :

ไม้ล้มลุก ลำต้นตั้งตรง สูง 40-100 ซม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ ใบรูปไข่แกมรูปสามเหลี่ยม กว้าง 5-10 ซม ยาว 6-10 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบรูปหัวใจ ขอบใบเรียบหรือจักซี่ฟัน ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น ออกตามซอกใบ ดอกเพศผู้และดอกเพศเมียจะอยู่บนต้นเดียวกัน โดยดอกเพศผู้มีกลีบดอกสีขาว ส่วนดอกเพศเมียไม่มีกลีบดอก ผลแห้งเมล็ดล่อน รูปไข่หรือรูปกระสวย มีหนามรูปตะขอและขนละเอียด ปลายเป็นจะงอยแหลม 2 อัน มีเมล็ดเดียว เมื่อแก่มีสีดำ

เอกสารอ้างอิง (1) โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สืบค้นจาก http://www.rspg.or.th/plants_data/plantdat/asterace/xstrum_1.htm

(2) กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สืบค้นจาก https://www.dnp.go.th/botany/detaildict.html?wordsname=%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%9A

ภาพลักษณะทางพฤษศาสตร์ :

ลักษณะทางพฤษศาสตร์

ชื่อพฤษศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์

:

Xanthium strumariumsubsp. sibiricum (Patrin ex Widder) Greuter (ชื่อพ้องพฤกษศาสตร์ Xanthium sibiricum Patr.)

วงศ์

:

ASTERACEAE

ลักษณะทางพฤษศาสตร์

:

ไม้ล้มลุก ลำต้นตั้งตรง สูง 40-100 ซม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ ใบรูปไข่แกมรูปสามเหลี่ยม กว้าง 5-10 ซม ยาว 6-10 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบรูปหัวใจ ขอบใบเรียบหรือจักซี่ฟัน ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น ออกตามซอกใบ ดอกเพศผู้และดอกเพศเมียจะอยู่บนต้นเดียวกัน โดยดอกเพศผู้มีกลีบดอกสีขาว ส่วนดอกเพศเมียไม่มีกลีบดอก ผลแห้งเมล็ดล่อน รูปไข่หรือรูปกระสวย มีหนามรูปตะขอและขนละเอียด ปลายเป็นจะงอยแหลม 2 อัน มีเมล็ดเดียว เมื่อแก่มีสีดำ

เอกสารอ้างอิง
(1) โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สืบค้นจาก http://www.rspg.or.th/plants_data/plantdat/asterace/xstrum_1.htm
(2) กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สืบค้นจาก https://www.dnp.go.th/botany/detaildict.html?wordsname=%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%9A

ภาพลักษณะทางพฤษศาสตร์

:

ลักษณะทางภายนอกของเครื่องยา

ลักษณะภายนอก

:

คำอธิบายลักษณะภายนอก

1. ลักษณะภายนอกที่1

:

2. ลักษณะภายนอกที่2

:

ภาพลักษณะภายนอก

:

ลักษณะทางภายนอกของเครื่องยา

ลักษณะภายนอก

1. ลักษณะภายนอกที่1

2. ลักษณะภายนอกที่2

ภาพลักษณะภายนอก :

สรรพคุณ

สรรพคุณ (ไทย)

  • กระชับ มีถิ่นกำเนิดในอเมริกาเหนือ และแพร่กระจายตามธรรมชาติทั่วโลก ประเทศไทยจัดเป็นวัชพืชขึ้นทั่วไปตามที่โล่ง ดินระบายน้ำดี พบในนาข้าวหลังเก็บเกี่ยว บางครั้งพบในแปลงพืชที่ปลูกหลังเก็บเกี่ยวด้วย กระชับเป็นผักพื้นบ้านขึ้นชื่อของจังหวัดระยอง ต้นอ่อนเพาะคล้ายถั่วงอก โดยนำเมล็ดแช่น้ำนาน 70–80 วัน ก่อนนำไปเพาะ ต้นอ่อนที่คล้ายถั่วงอกใช้ใส่แกงส้ม กินกับน้ำพริก หรือผัดน้ำมันหอย
  • ตำรายาไทย ใช้ผลเป็นยาเย็น บำรุงกำลัง รักษาโรคท้องมาน รากรสขมช่วยเจริญอาหาร เป็นยาแก้วัณโรคต่อมน้ำเหลืองและมะเร็ง ใบและต้นแก้อาการปวดศีรษะและอาการปวดหู ต้นใช้ระงับประสาท แก้โรคมาลาเรีย ประเทศจีนมีรายงานการใช้ต้นกระชับเป็นยามากกว่า 1,000 ปี โดยใช้รักษาโรคแพ้อากาศหรือโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ ไซนัสอักเสบ ปวดศีรษะ แผลในกระเพาะอาหาร โรคลมพิษ ไขข้ออักเสบ ลดการติดเชื้อจากแบคทีเรียและเชื้อรา และจากรายงานการวิจัยหลายฉบับ พบว่าผักกระชับมีสารสำคัญมากกว่า 170 ชนิด และจากการศึกษาทางด้านเภสัชวิทยา พบว่าสารต่างๆ เหล่านี้มีสรรพคุณมากมาย โดยเฉพาะช่วยลดอาการแพ้ ต้านมะเร็ง ต้านอักเสบ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม เมล็ดมีสารพิษชื่อว่า carboxyatractyloside (xanthostrumarin) ซึ่งเป็นพิษต่อสัตว์ สารนี้จะคงอยู่จนถึงระยะที่เมล็ดงอกเป็นต้นอ่อนมีใบเลี้ยงติดอยู่ แต่เมื่อใบแท้เริ่มมีการเจริญเติบโต สารไกลโคไซด์นี้จะลดลงอย่างรวดเร็ว สารพิษชนิดนี้จะไม่สลายตัวแม้จะนำมาตากแดดให้แห้งแล้วก็ตาม ดังนั้นการนำผักกระชับมากินต้องเป็นต้นอ่อนที่มีใบแท้เจริญออกมาสมบูรณ์แล้ว ในบังคลาเทศมีรายงานการกินต้นกล้าหรือต้นอ่อนที่ใบแท้ยังไม่เจริญทำให้มีผู้เสียชีวิตไม่น้อยกว่า 20 ราย จึงต้องระมัดระวัง ถึงแม้จะมีรายงานว่าในเมล็ดมีสารพิษ แต่ยาจีนแผนโบราณมีการนำมาใช้ในตำรับยารักษาแก้จมูกอักเสบเรื้อรังและริดสีดวงจมูก ด้วยการใช้เมล็ดกระชับประมาณ 8 กรัม ใบสะระแหน่ 5 กรัม ใบชา 10 กรัม รากหอมใหญ่ 6 กรัม โกฐสอ 10 กรัม และดอกชุนฮัว 12 กรัม นำทั้งหมดมาต้มกับน้ำเป็นยากิน นอกจากนี้ยังมีการใช้เมล็ดเป็นยาแก้ไข้หวัด ถอนพิษไข้ด้วย ข้อสังเกตตำรับยานี้น่าจะมีวิธีการปรุงยาตามแบบฉบับโบราณของชาวจีนที่น่าจะลดพิษ ต้องให้ผู้รู้จริงๆ ปรุงยา นอกจากนี้รากและผลมีสารจำพวก sesquiterpenoid lactones เช่น xanthinin, xanthatin มีสรรพคุณแก้แพ้ แก้อาการอักเสบได้หลายอย่าง เช่น การติดเชื้อทางผิวหนัง โรคกระเพาะอาหาร ในประเทศแถบอเมริกาใต้นำใบมาสกัดสีย้อมให้สีเหลือง
    เอกสารอ้างอิง https://www.thaihof.org/%E0%B8%9C%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%9A-%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B8%8A%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%AD%E0%B8%B2/
  • เมล็ดมีสารพิษชื่อว่า carboxyatractyloside (xanthostrumarin) ซึ่งเป็นพิษต่อสัตว์ สารนี้จะคงอยู่จนถึงระยะที่เมล็ดงอกเป็นต้นอ่อนมีใบเลี้ยงติดอยู่ แต่เมื่อใบแท้เริ่มมีการเจริญเติบโต สารไกลโคไซด์นี้จะลดลงอย่างรวดเร็ว สารพิษชนิดนี้จะไม่สลายตัวแม้จะนำมาตากแดดให้แห้งแล้วก็ตาม ดังนั้นการนำผักกระชับมากินต้องเป็นต้นอ่อนที่มีใบแท้เจริญออกมาสมบูรณ์แล้ว ในบังคลาเทศมีรายงานการกินต้นกล้าหรือต้นอ่อนที่ใบแท้ยังไม่เจริญทำให้มีผู้เสียชีวิตไม่น้อยกว่า 20 ราย จึงต้องระมัดระวัง

รูปภาพองค์ประกอบทางเคมี

ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาและพิษวิทยา

ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา

:

ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา

พิษวิทยา

:

พิษวิทยา

ทางธุรกิจ

มูลค่าทางเศรษฐกิจ

:

มูลค่าทางเศรษฐกิจ

ความต้องการของตลาดโลกและการค้าระหว่างประเทศ

:

ความต้องการของตลาดโลกและการค้าระหว่างประเทศ

แนวโน้มความต้องการและโอกาสทางเศรษฐกิจ

:

แนวโน้มความต้องการและโอกาสทางเศรษฐกิจ

Image by jcomp on Freepik
Views: 210
Scroll to Top