Imperatae Rhizoma - Cogongrass

หญ้าคา (ราก)
白茅根
(Bái máo gēn - ป๋ายเหมาเกิน)

ชื่อเครื่องยา

ชื่อเครื่องยา (ไทย)

:

หญ้าคา (ราก)

ชื่อเครื่องยา (จีน)

:

ป๋ายเหมาเกิน (白茅根 Bái máo gēn)

ชื่อเครื่องยา (ละติน)

:

Imperatae Rhizoma

ชื่อพืช (ไทย)

:

หญ้าคา

ชื่อพืช (จีน)

:

ป๋ายเหมา (白茅 Bái máo)

ชื่อพืช (อังกฤษ)

:

Cogongrass

ลักษณะทางพฤษศาสตร์

ชื่อพฤษศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์

:

Imperata cylindrica (L.) Raeusch. (ชื่อพ้องพฤกษศาสตร์ Imperata cylindrica Beauv. var. major (Nees) C.E.Hubb.)

วงศ์

:

GRAMINEAE

ลักษณะทางพฤษศาสตร์

:

ไม้ล้มลุก มีลำต้นเป็นไหลใต้ดิน เส้นค่อนข้างกลมทอดยาวได้ไกล ลำต้นที่ตั้งตรงอยู่เหนือดินสูงประมาณ 40-150 ซม. ใบเดี่ยว แตกจากโคนกอ รูปขอบขนาน ขอบใบคม กาบใบโอบหุ้มลำต้น ลิ้นใบเป็นแผ่นเนื้อแข็ง ช่อดอก รูปทรงกระบอก ดอกย่อย มีขนาดเล็ก สีเงินอมเทาอ่อนๆ เรียงสลับรอบ ๆ แกนกลางช่อลักษณะคล้ายกับหางกระรอก ผลแห้ง รูปยาวรี สีน้ำตาล

เอกสารอ้างอิง

(1) ข้อมูลพืชสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร สืบค้นจาก https://pharmacy.su.ac.th/herbmed/herb/text/herb_detail.php?herbID=279

(2) โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สืบค้นจาก http://www.rspg.or.th/plants_data/use/toxic_04.htm

ภาพลักษณะทางพฤษศาสตร์

:

ลักษณะทางภายนอกของเครื่องยา

ลักษณะภายนอก

:

คำอธิบายลักษณะภายนอก

1. ลักษณะภายนอกที่1

:

2. ลักษณะภายนอกที่2

:

ภาพลักษณะภายนอก

:

สรรพคุณ

สรรพคุณ (ไทย)

  • หญ้าคาเป็นวัชพืชขึ้นปกคลุมพื้นที่โล่งหรือบริเวณป่าที่ถูกทำลายได้ดีมาก มีความสามารถในการกระจายพันธุ์ได้ดีทั้งจากเมล็ดโดยลมที่พัดพาเมล็ดไปได้ไกล และการแตกหน่อจากไหล สามารถปกคลุมพื้นที่ได้รวดเร็ว และมักขึ้นปกคลุมเพียงชนิดเดียวทั่วทั้งพื้นที่ เนื่องจากสามารถปล่อยสารธรรมชาติบางชนิดที่มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของพืชชนิดอื่น ประกอบกับระบบรากหญ้าคามักแผ่กระจายหนาแน่นปกคลุมดินชั้นบน จนยากแก่การงอกและตั้งตัวของกล้าไม้ถิ่นเดิมในพื้นที่ ฤดูแล้งหญ้าคาจัดเป็นวัสดุเชื้อเพลิงอย่างดีต่อการเกิดไฟป่า
  • รากสดหรือแห้ง
  • รากสดหรือแห้ง รสจืด ใช้เป็นยาแก้ร้อนใน กระหายน้ำ เป็นยาขับปัสสาวะ เอกสารอ้างอิง ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม โดยกองการประกอบโรคศิลปะสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปีที่พิมพ์ พ.ศ. 2541
  • รากสดหรือแห้ง รักษาอาการขัดเบา ใช้ราก วันละ 1 กำมือ (สด หนัก 40 -50 กรัม แห้ง หนัก 10 -15 กรัม) หั่นเป็นชิ้น ๆ ต้มน้ำดื่มครั้งละ 1 ถ้วยชา (75 มิลลิลิตร) วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร

สรรพคุณ (จีน)

  • ประเทศจีน โดยเฉพาะทางตอนเหนือของจีน
  • นำรากหญ้าคามาล้างให้สะอาด นำเศษออก หั่นเป็นท่อน แล้วนำไปตากแดดให้แห้ง
  • ลดความร้อนในเลือด ห้ามเลือด ระบายความร้อน ขับปัสสาวะ(凉血止血,清热利尿)

รูปภาพองค์ประกอบทางเคมี

ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาและพิษวิทยา

ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา

:

ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา

พิษวิทยา

:

พิษวิทยา

ทางธุรกิจ

มูลค่าทางเศรษฐกิจ

:

มูลค่าทางเศรษฐกิจ

ความต้องการของตลาดโลกและการค้าระหว่างประเทศ

:

ความต้องการของตลาดโลกและการค้าระหว่างประเทศ

แนวโน้มความต้องการและโอกาสทางเศรษฐกิจ

:

แนวโน้มความต้องการและโอกาสทางเศรษฐกิจ

Image by jcomp on Freepik
Views: 121
Scroll to Top